ใน pure-ftpd จะมีคำสั่งสร้าง user
และระุบุให้ผูกกับ user ของ OS
ดังนี้
http://support.real-time.com/open-source/pureftpd/index.html
โดยห้าม ใช้ uid OS ซีึ่งเป็น "root" และ "gid" เป็น root
ทำให้ต้องมีการ สร้าง user ของ OS ใหม่
การสร้าง user ใหม่ ใน ubuntu
ลองสร้างดูด้วย วิธีนี้
useradd ซับซ้อนหน่อย ต้องระบุ path ให้ แล้วต้องมากำหนด password ด้วย "passwd" อีกครั้ง
adduser เหมือนมี text gui มาช่วยให้ป้อนค่าต่างๆง่ายมากๆ
http://www.howtogeek.com/howto/ubuntu/add-a-user-on-ubuntu-server/
หรือหากจะสร้าง ด้วย gui ก็ตามนี้ครับ
http://blog.it.kmitl.ac.th/it51070105/2008/07/10/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87-user-%E0%B9%83%E0%B8%99-ubuntu/
สมมุติ สร้าง user ของ OS ชื่อ tu2 มาแล้ว
ขั้นตอนที่จะสร้าง user ของ pure-ftpd ก็จะทำตามเอกสารนี้
http://download.pureftpd.org/pub/pure-ftpd/doc/README.Virtual-Users
แต่จะปรับเปลี่ยนเล็กน้อย คือ
ที่ path
root@root: /etc/pure-ftpd#
รันคำสั่งดังนี้
#groupaddd ftpgroup
#useradd -g ftpgroup -d /home/ftpuser -s /etc ftpuser
#pure-pw useradd tu2 -u ftpuser -d /home/ftpuser/joe
ใส่พาสเวิร์ด สองครั้ง
เป็นการผูก user:OS tu2 เข้ากับ user (อ่านรีบๆเดาว่าน่าจะเป็น) แบบ virtual user "ftpuser"
และกำหนดให้ path ของ directory เป็น /home/ftpuser/joe
แต่ว่าใส่ผิด ชื่อไม่ตรง คือใส่ joe ต้องการ ลบ user นี้ออกจาก ftp เพื่อจะเปลี่ยน folder ที่เก็บ
#pure-pw userdel tu2
#pure-pw useradd tu2 -u ftpuser -d /home/ftpuser/tu2
ใส่ password สองครั้ง
จะทำให้ สามารถ logon จาก core FTP ( windows )
ได้ โดย ใช้ user tu2
ซึ่งเป็นการ เปิด จาก port 21
ถ้าจะใ้ห้ ปลอดภัยขึ้นควร ใช้ SSH แทน ซึ่งเป็น port 22 จะปลอดภัย มีการเข้ารหัสข้อมูล
ซึ่ง port 21 แบบ FTP นี้ ไม่มีการเข้ารหัสข้อมูลใดๆ ทั้งสิ้น
แต่ในที่นี้ สอน การใช้งานแบบง่ายๆ ในหน่วยงาน หรือ สำหรับ Test Server
หรือ ใช้ ภายใน VMware / VirtualBox เป็นหลัก ( ผมก็ ใช้เพื่อการนี้แหละ ... แบบ Host - Only ด้วย )
------------------------
ผลลัพธ์ หลังจากลองแบบ รีบด่วนแล้ว
พบว่า login ftp ได้ที่ /home/tu2
ซึ่งก็พบว่า ใช้ CoreFTP (windows ) โหลด ไฟล์จาก Pure-ftpd (Ubuntu ) ได้
และยังสามารถ ส่งไฟล์จาก CoreFTP (windows ) ไปยัง Pure-ftpd (Ubuntu ) ได้ ด้วย
โดยจะส่งไปวางไว้ที่ /home/tu2
ซึ่งก็จะเป็นวิธีการ รับส่งไฟล์แบบง่ายๆ ในสภาพแวดล้อมที่ มีความเสี่ยงต่ำ
ระหว่าง linux กับ windows
... อืม ... อาจมีวิธีง่ายกว่านี้ แต่นึกไม่ออก น่ะ :D